Academia.eduAcademia.edu
สยามใหม่กับเอกราช(ไม่)สมบูรณ์ : คณะราษฎรในยุคสมัยแห่งความเท่าเทียมระหว่างชาติ จีรวุฒิ บุญรัศมี1 บทนา ปัจจุบันการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของสิทธิสภาพนอกอาณาเขต (Extraterritoriality) ยังมีปรากฏ อยู่น้อยมาก2 งานวิชาการส่วนมากมักมุ่งเน้นไปสู่การอธิบายผลกระทบในเชิงการเมืองการปกครองโดยการ ปฏิรูประบบราชการเพื่อการรักษา “เอกราช” เป็นหลัก อย่างไรก็ดี ในแง่ของความหมายของคาว่าสิทธิสภาพ นอกอาณาเขตนั้น นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ ได้ให้ข้อคิดเห็นอันน่าสนใจว่ามี ยังคงความหมายกากวม3 เป็นผล ให้เกิดการแบ่งแนวความคิดหลัก ๆ เป็น 2 ฝ่ายโดยไม่ได้ตั้งใจ ฝ่ายแรกคือเจ้านายและที่ปรึกษาต่างประเทศ ของสยามซึ่งเชื่อว่าสยามหาได้เสียเอกราชไปแต่อย่างใด เพราะสยามคงมีพระมหากษัตริย์อันเป็นพระประมุข ของชาติอยู่ ที่สยามสูญเสียไปเพราะการทาสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับชาติมหาอานาจนั้น คือ “อิสรภาพ” หรือ “เสรีภาพ” ที่จาเป็นต้องใช้ในการเก็บภาษีอากรและการจัดการปกครองบางประการเท่านั้น แต่อีกด้าน หนึ่งก็ปรากฏแนวความคิดที่ว่าสยามมี “เอกราชไม่สมบูรณ์” แนวคิดเหล่านี้มีพื้นฐานอันเข้มข้นมาจากกลุ่ม คนสยามรุ่นหนุ่มซึ่งมีแนวคิดแตกต่างกับไปคนในกลุ่มแรกอย่างชัดเจนในเรื่อง “เอกราชไม่สมบูรณ์” และ “อานาจอธิปไตย” จากกระแสความคิ ดที่ ไ ด้ก ล่าวมาข้ างต้น นี้ ส่ง ผลท าให้ก ารศึ ก ษาประวัติ ศาสตร์ กฎหมาย และ การเมืองในยุคปลายสมบูรณาญาสิทธิราชย์จนถึงช่วงต้นของระบอบรัฐธรรมนูญมีปัญหา กล่าวคือแทบไม่มี ผู้ให้ความสาคัญกับแนวความคิด “เอกราชไม่สมบูรณ์” ว่ามีความสาคัญมากน้อยเพียงใด4 และส่งผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนโฉมหน้าประเทศไทยหรือสยามในสมัยนั้นอย่างไร บทความชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่ อจะ สารวจแรงขับเคลื่อนสาคัญที่ทาให้รัฐบาลคณะราษฎรตระหนักถึงการแสวงหาคาอธิบายตามหลักรัฐสมัย ใหม่ซึ่งต้องตั้งอยู่บนการมีอานาจอธิปไตยอันสมบูรณ์ตามแนวคิดสากลสมัยซึ่งแตกต่างกับรัฐจารีตในสมัย สมบูรณาญาสิทธิราชย์ในอดีต นิสิตปริญญาโท ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ , การปฏิวัติสยาม พ.ศ.2475, น. 5 3 เรื่องเดียวกัน, น. 6 4 นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, ความคิด ความรู้ และภูมิปัญญา การปฏิวัติ 2475, น. 401 1 นโยบายของคณะราษฎรเกี่ยวกับเอกราชไม่สมบูรณ์ ภายหลัง การปฏิวัติส ยามในปลายเดือนมิ ถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้ก ลายมาเป็ นชนชั้ น ปกครองใหม่แทนกลุ่มเจ้านายและสมาชิกในราชวงศ์จักกรี รวมไปถึงขุนนางระดับสูงในระบอบเก่า ภายใต้ แนวนโยบายรัฐธรรมนูญนิยมและการให้สิทธิเสมอภาคแก่ราษฎรชาวสยามถ้วนหน้า เรื่องเอกราชเองก็มี ระบุไว้ในประกาศคณะราษฎรอันปรากฎใน ข้อที่ 1 ว่า “…จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอก ราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง…”5 และหากราษฎรได้ให้ ความร่วมมือช่วยเหลือคณะราษฎรนี้แล้วจะทาให้ประเทศจะมีความเป็นเอกราชอย่างพร้อมบริบูรณ์ 6 อาจดู เป็นเรื่องแปลกว่าเหตุใดคณะราษฎรต้องกล่าวถึงเรื่อง “เอกราช” ขึ้นมาอีก ทั้ง ๆ โดยทั่วไปรับรู้กันว่าสยาม ไม่เคยสูญเสีย “เอกราช” แต่สาหรับนักกฎหมายอย่างหลวงประดิษฐ์มนูธรรมแล้ว การเสียสิทธิสภาพนอก อาณาเขตเป็นข้อเท็ จจริงที่ไม่ อาจทาให้นักกฎหมายกล่าวได้อย่างภาคภูมิใ จว่าประเทศสยามมี “เอกราช สมบูรณ์” ด้วยเหตุอันนี้ทาให้เรื่องเอกราชจึงจาเป็นต้องระบุไว้เป็นข้อแรก 7 แต่ในสายตาของผู้ที่ไม่ใช่นัก กฎหมายแล้ว ดิเรก ชัยนาม สมาชิกคณะราษฎรอีกคนหนึ่งกลับมองว่าเรื่องอานาจศาลนับว่าเรื่องเล็กหาก เทียบกับเรื่องภาษีซึ่งสยามต้องผูกพันธ์ภายใต้เงื่อนไขของสนธิสัญญาไม่เสมอภาค การเก็บภาษีอากรซึ่งถูก ห้ามเกินควรนี้ไม่เป็นธรรมอย่างยิ่ง “เป็นการกดขี่อย่างรุนแรง”8 หลั ง การเปลี่ ย นแปลงการปกครองรั ฐ บาลคณะราษฎรปราถนาที่ จ ะได้ รั บ การถู ก ยอมรั บ จาก ประชาคมระหว่างประเทศ รวมถึง ความรู้สึกเกรงว่าชาติมหาอานาจโดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศสจะเข้า มา แทรกแซงการเมืองภายในของประเทศสยาม ทาให้ระยะแรกรัฐบาลในระบอบใหม่จึงประกอบด้วยคนใน ระบอบเก่าหลายคนที่ต่างประเทศให้การยอมรับ อาทิ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ซึ่งจบการศึกษามาจาก ประเทศอังกฤษ หรือ พระยาศรีวิสารวาจา(เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล ) ซึ่งมีบทบาทมากในการเป็นประธานใน การประชุ ม เรื่อ งฝิ่ นในกรุ ง เทพซึ่ง จั ด โดยสั น นิบ าตชาติ ในปี พ.ศ.2474 โดยเป็ นครั้ง แรกที่ ป ระเทศใน ตะวันออกไกลได้เป็นเจ้าภาพในการจัดงานระดับโลก รวมไปถึงเป็นครั้งแรกที่ชื่อเมืองหลวงของสยามได้ถูก นามาใช้เป็นชื่อที่เกี่ยวข้องกับสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้วยเช่นกัน 9 กระแสความกลัวที่จะถูกต่างชาติ ประกาศคณะราษฎร. เรื่องเดียวกัน. 7 นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, การปฏิวตั ิสยาม 2475, น. 215 8 ดิเรก ชัยนาม, ประเทศไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2, น. 19 9 Stefan Hall, Siam and the league of nations, น. 16 5 6 แทรกแซงนี้ถูกตอกย้ายิ่งขึ้นจากการที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชหัตถเลขาตอบ คณะผู้รักษาพระนครฯว่า “…ข้ า พเจ้ า …จึ ง ยอมรั บ ที่ จ ะช่ ว ยเป็ น ตั ว เชิ ด เพื่ อ คุ ม ให้ โ ครงการตั้ ง รั ฐ บาลให้ เ ป็ น รู ป ตามวิ ธี เปลี่ยนแปลงตั้งพระธรรมนูญโดยสะดวก ถ้าเพราะว่าข้าพเจ้าไม่ยอมรับเป็นตัวเชิด นานาประเทศก็คงไม่ ยอมรับรัฐบาลใหม่นี้ ซึ่งจะเป็นความลาบากยิ่งขึ้นหลายประการ…”10 สอดคล้องกับการที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรม(ปรีดี พนมยงค์) ซึ่งได้กล่าวแก่บุคคลในคณะรัฐมนตรี ตั้งแต่บ่ายวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ว่าประเทศต่าง ๆ ควรจะได้รับแจ้งว่ารัฐบาลชั่วคราวจะยึดมั่ นใน พันธกรณีตามสนธิสัญญาที่มีอยู่ในขณะนั้นทั้งหมด นอกจากนั้นก็ยังมีการส่งบันทึกถึงสถานทูตต่าง ๆ เพื่อ แจ้งให้ทราบว่ารัฐบาลใหม่พยายามจะรักษาความเป็นระเบียบและยึดมั่นพันธกรณีต่าง ๆนั้นด้วย 11 อย่างไรก็ ดีเป็นที่น่าสังเกตว่านโยบายส่วนใหญ่ของคณะราษฎรเป็นนโยบายต่อเนื่องมาจากรัฐบาลก่อน12 นโยบายตาม หลัก 6 ประการของคณะราษฎรโดยเฉพาะในประเด็นเอกราชทางการศาล ได้ถูกนามาแถลงนโยบายของ รัฐบาลในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ว่าขณะนี้สัญญาทางพระราชไมตรีผูกมัดเราอยู่ทาให้เอกราชแห่งการ ศาลของสยามจึงยังไม่สมบูรณ์ เพื่อที่จะให้ผ่านพ้นข้อความนี้มีอยู่วิธีเดียวก็คือรีบเร่งทาประมวลกฎหมาย ออกมาให้ครบ โดยรัฐบาลเก่าได้เริ่มสร้างและร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประกาศใช้ไปแล้ว 4 บรรพ ส่วนประมวลกฎหมายอื่น ๆ รัฐบาลใหม่ก็กาลังเร่งรัดจัดทาอยู่ เมื่อประมวลกฎหมายทั้งหมดเสร็จสิ้น แล้ว อีก 5 ปีข้างหน้าสยามจะได้เอกราชทางศาลกลับมาโดยสมบูรณ์13 ก่อนที่สยามจะได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายต่าง ๆ เสร็จสิ้น เกิดเหตุการณ์ปฏิวัติโค่นรัฐบาลสาย กลางของพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเสียก่อนโดยพระยาพหลพลพยุหเสนาในกลางเดือนมิถุนายน พ.ศ.2476 นโยบายใหม่ของรัฐบาลพระยาพหลฯซึ่งได้เริ่มมีการนารูปแบบชาตินิยมมาใช้ในการบริหารประเทศ 14 ได้ ริเริ่มโยบายที่จะยกเลิกสนธิสัญญาต่าง ๆ ที่สยามได้ทาไว้กับนานาชาติที่ปรากฏข้อผูกมัดเรื่องการศาลและ ภาษีศุลกากรให้หมดไป ดังนั้นในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2477 รัฐบาลใหม่จึงดาเนินการให้กระทรวงการ ต่างประเทศติดต่อกับชาติต่าง ๆ ที่สยามมีสนธิสัญญาดังกล่าว เพื่อขอเจรจายกเลิกสนธิสัญญาเสมอภาคและ วีรวัลย์ งามสันติกุล , ประชาธิปกกาลสมัย, น. 186 ธีระ นุชเปี่ยม , ตัวตนของสยามในโลกา, น. 65 12 เรื่องเดียวกัน, น. 205 13 เรื่องเดียวกัน, น. 205-206 14 ดูรายละเอียดใน นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ , การปฏิวัติสยาม พ.ศ.2475 10 11 นาไปสู่การมีสนธิสัญญาแบบเสมอภาคและเป็นแบบเดียวกันทุกประเทศเพื่อให้สยามมีอิสรภาพบริบูรณ์ทาง อานาจศาลและภาษีศุลกากรอย่างแท้จริงโดยมีผู้ดาเนินงานหลัก คือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ ปรีดี พนม ยงค์ 15 ที่มาของแนวความคิดเรื่องชาตินิยมและปัญหาเอกราชไม่สมบูรณ์ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 มีแรงผลักดันที่สาคัญมาจากความรู้สึกนึกคิดเรื่องชาตินิยม อันเป็นความรู้สึกที่ต้องการความเจริญของชาติทัดเทียมกับอารยะประเทศ 16 ทั้งนี้เป็นความจริงที่ว่าผู้ก่อการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือ กลุ่มคณะราษฎร ส่วนมากเป็นผู้ที่ได้ไปร่าเรียนศึกษาและได้ไปเห็นความ เจริญของชาติอารยะต่าง ๆ ซึ่งส่วนมากเป็นประเทศในยุโรป อาทิ อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมนี เป็นต้น เมื่อ พวกเขาได้เห็นถึงความเจริญของชาติต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว เป็นไปไม่ได้ที่จะไม่นามา คิดเปรีย บเที ย บกั บ ประเทศสยามในเวลานั้น แม้จะมีการพยายามทาให้ประเทศทันสมัยเท่าทันประเทศตะวัน ตกโดยชนชั้น ปกครองสยามตั้ง แต่ส มั ย ที่ ป กครองโดยรัฐบาลระบอบกษั ต ริย์ ซึ่ง ได้พ ยายามไล่ตามประเทศตะวั น ตก เหล่านั้นให้ทัน ทั้งการปฏิรูประบอบราชการ กฎหมาย ศาล การต่างประเทศ การภาษี รวมถึงระบบการคลัง ให้เป็นสมัยใหม่และมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยมีแขนขาหลัก คือ กระทรวงมหาดไทย 17 อย่างไรก็ดี การ ปฏิรูปหรือการทาให้ทันสมัยเหล่านั้นมีเพียงแค่ชนชั้นปกครองในระบอบเก่าเท่านั้นที่สามารถแตะต้องได้ แนวคิดแบบชนชั้นนาในระบอบเก่าสามารถเห็นได้ชัดขึ้น เมื่อพิจารณาจากการจัดเลี้ยงพระราชทานพระ กระยาหารและอาหารในการฉลองวันเสมอภาคของกรุงสยาม ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เมื่อ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2469 ปรากฏว่าเป็นที่ทราบกันในหมู่ของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการที่เกี่ยวข้อง เท่านั้น18 ภายในงานเลี้ยงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสราลึกถึงพระเจ้าแผ่นดิน พระองค์ก่อน ๆ โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ ที่งานดาเนินการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอ ภาคส่วนมากดาเนินการในรัชสมัยของพระองค์ รวมถึงพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการที่เกี่ยวข้องกับการ แก้ไขสนธิสัญญาเหล่านี้ อาทิ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เป็นต้น ในฐานะที่ทุกพระองค์ล้วนมีส่วนใหญ่ยิ่งที่ได้ช่วยให้ฐานะของประเทศ สยามเราสู่ความเจริญได้ถึงเพียงนี้19 วีรวัลย์ งามสันติกุล , ประชาธิปกกาลสมัย, น. 206 บัณทิต จันทร์โรจนกิจ , รัฐธรรมนูญสถาปนา, น. 107 17 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน เตช บุนนาค , การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. 2435-2458 18 วรชาติ มีชูบท , สมเด็จมหาธีรราชเจ้า, น. 420 19 เรื่องเดียวกัน. 15 16 แน่นอนว่าการไปร่าเรียนหรืออาศัยอยู่ในประเทศตะวันตกวิชาการเมืองและวิชาประวัติศาสตร์ของ ประเทศที่ตนอาศัยอยู่นั้นย่อมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ หลายประเทศในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภาคพื้น ทวีป อาทิ ฝรั่งเศส และเยอรมนี ในอดีตได้ประสพกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ได้กระตุ้นจิตสานึกรวมชาติและ ชาตินิยมขึ้น จนหลายครั้งได้ชักนาไปสู่การเกิดศึกสงครามระหว่างชาติ หรือการที่ต้องทนอยู่กับสนธิสัญญา ที่ชาติชนะสงครามที่ทาไว้แก่ตน เช่นฝรั่งเศสหลังสมัยนโปเลียนหรือ การรวมชาติเยอรมนี ในสมัยพระเจ้า ฟรีดริชมหาราช 20 เหล่านี้อาจเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ผู้นาคณะราษฎรซึ่งอาจได้ซึมซับ เอาแนวความคิ ด เหล่านีมาบ้าง มาแม้ว่าสยามจะได้เปลี่ยนแปลงการปกครองไปแล้ว แต่ช่วงเวลานั้น (พ.ศ.2475) ยังคงเป็น ช่วงเวลาที่หลายพื้นที่อาณานิคมรวมถึงรัฐเพื่อนบ้านของสยามเริ่มตั้งคาถามกับจักรวรรดินิยมและเชิดชู กระแสชาตินิยม21 อีกทั้งเมื่อผนวกเข้ากับปัญหาทางเศรษฐกิจของโลกแล้ว หลังจากภาวะเศรษฐกิ จตกต่าทั้ง โลก(The Great Depression) ระบบเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจตกต่าช้ามาก ลัทธิชาตินิยมทาง เศรษฐกิจได้มีผลกระทบต่อการค้าในประเทศอาณานิคมของอังกฤษโดยเฉพาะในสิงคโปร์ 22 อังกฤษและ ฝรั่งเศสต้องเผชิญหน้ากับปัญหายุ่ง ๆ ในอาณานิคมของตน ซึ่งส่วนมากเป็นปัญหาของนักลิทธิชาตินิยม ท้องถิ่นซึ่งลี้ภัยเข้ามาพักในอาณาเขตของสยาม และหลายครั้ง ที่บรรดาเจ้าอาณานิคมเหล่านี้ได้ร้องขอมายัง รัฐบาลสยามตั้งแต่รัฐบาลระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่รัฐบาลสยามกลับใช้ความระมัดระวังเป็นอย่าง มากในการพิจารณาการส่งตัวนักลัทธิชาตินิยมเหล่านั้นแก่เจ้าอาณานิคม และมักแสดงท่าทีสงสารและเห็นใจ ต่อบรรดาชาติเพื่อนบ้านของตนที่ต้องการต่อสู้เพราะเรียกร้องเอกราชเท่านั้น 23 อาจกล่าวได้ว่า การเติบโต ของสานึกทางประวัติศาสตร์และพื้นที่สากล(Internationalist) ระหว่างปลายศตวรรษที่ 19 และต้นศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมาเป็นเรื่องที่น่าประหลาดที่เดียว 24 ชนชั้นนาสยามตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวเรื่อยมาจนถึงสมัยรัฐบาลคณะราษฎรล้วนมีจิตสานึกในความเป็นครอบครัวนานาชาติเหล่านี้ ภายหลังจากการเปิดประเทศจากการกดดันจากสหรัฐอเมริกา การจัดการกับปัญหาภายในของญี่ปุ่น นั้นง่ายกว่ามาก25 หากเปรียบเทียบกับสยาม จีน หรือ ประเทศตะวันออกอื่น ๆ ด้วยเพราะญี่ปุ่นเป็นประเทศ ขนาดเล็ก ประชาชนไม่มีความแตกต่างทางเชื้อชาติทาให้มีลักษณะเป็นหนึ่งเดียวกันมากกว่า มีเพี ยงแต่กลุ่ม ขุนนางและคหบดีเท่านั้นที่เป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิรูปประเทศไปสู่ความทันสมัย (Modernisation) ยิ่งกว่านั้น รั ฐ บาลเมอิ จิ ไ ม่ เ คยละทิ้ ง จุ ด มุ่ ง หมายหลั ก ของพวกเขาตั้ ง แต่ แ รกเริ่ ม นั่ น คื อ การเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบ ความสัมพันธ์กับตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสนธิสัญญาที่ไ ม่เสมอภาคที่ประเทศมหาอานาจตะวันตกได้ บังคับญี่ปุ่นด้วยกาลัง จะต้องถูก แก้ไขให้ไ ด้รับความเท่าเทียมโดยการเจรจากับ อังกฤษเป็นชาติแรกภาย ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน สัญชัย สุวังบุตรและอนันต์ชัย เลาหะพันธ์, ยุโรป ค.ศ. 1815-1918 วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ ใน 24 มิถนุ ายน 2475 ในกระแสการเปลี่ยนแปลงโลก จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, น. 42 22 Ernest C.T. Chen, A History of Singapore, น. 76 23 เบนจามิน เอ. แบทสัน ใน อวสานสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในสยาม, น. 253-254 24 Pankaj Mishra, From the ruins of empire, น. 299 25 เรื่องเดียวกัน, น. 132 20 21 หลังจากการกบฏที่ล้มเหลวโดยกลุ่มชาตินิยมในปี ค.ศ.1886 ญี่ปุ่นได้โน้มน้าวให้อังกฤษยอมรับการยกเลิก สิทธิสภาพนอกอาณาเขตได้สาเร็จในปี ค.ศ.189426 และญี่ปุ่นก็ได้ดาเนินเจรจาขอยกเลิกสนธิสัญญาไม่เสมอ ภาคที่ชาติอื่น ๆ ได้ทาไว้จนแล้วเสร็จลงไป เมื่อคิดว่าตนเองเป็นประเทศอารยะทันสมัยแล้ว ไม่นานนักญี่ปุ่น ได้ก้าวเข้ามาสู่ประเทศที่มีสถานะทัดเทียมกับประเทศตะวันตก นาไปสู่การตกผลึกความคิดที่ว่าการล่าอาณา นิคมไม่ใช่การผูกขาดโดยคนขาวอีกต่อไป 27 ญี่ปุ่นถึงกับประกาศว่าจะขยายฐานอานาจไปยังตะวันออกไกล อย่ างทั ดเที ย มและเคียงบ่ าเคี ยงไหล่กับ กับ มหาอานาจอื่น ๆ 28 ในขณะเดีย วกันตุรกีและเปอร์เซียซึ่ง เป็น ประเทศมุสลิมเอกราชในตะวันออก ได้เฝ้ามองการปฏิรูปของญี่ปุ่นด้วยสายตาอันชื่นชมท้ายที่ สุดได้นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงในตรุกี ซึ่งนาโดยกลุ่มยังเติร์กที่ได้บังคับให้สุลต่านอับดุลอาเหม็ดประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ในปี ค.ศ.1876 ส่วนเปอร์เซียนั้นได้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองขึ้นในปี ค.ศ.1906 ภายหลังที่ได้เห็น แบบอย่างความฮึกเหิมของญี่ปุ่นซึ่งได้ทาลายกองเรื อรบของรัสเซียลงอย่างพินาศย่อยยับ 29 ชัยชนะของชาว ตะวันออกต่อชาวตะวันตกเช่นนี้เป็ นไปไม่ ได้เลยที่ สยามจะเพิก เฉยอยู่ไ ด้ เห็นได้ชั ดว่าราวปี พ.ศ.2480 รัฐบาลคณะราษฎรของสยามเองก็ถือว่าในตอนนี้ญี่ปุ่นเป็นประเทศมหาอานาจแล้วเช่นเดียวกัน30 ในขณะเดีย วกั น พระบาทสมเด็จพระมงกุ ฎ เล้าเจ้าอยู่ หัว ได้ท รงมี พ ระบรมราชวินิจฉั ย ในกรณี ประเทศญี่ปุ่นต่างออกไป โดยปรากฎในจดหมายเหตุรายวัน รัตนโกสินทร์ศก 130 หรือไม่กี่เดือนภายหลัง จากการก่อกบฏอันล้มเหลวใน ร.ศ. 130 ซึ่งนาโดยนายทหารรุ่นหนุ่มกลุ่มหนึ่งที่ต้องการเปลี่ยนระบอบการ ปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นระบอบสาธารณรัฐ ในจดหมายเหตุรายวันฉบับนี้พระองค์ทรง บันทึกลงไปว่า พระยากัลยายังมีความเห็นต่อไปอีกว่าญี่ปุ่นตั้งแต่ได้มีไชยชานะเหนือรัสเซียมาแล้ว ก็ออกจะ ละเลิงจนโรค “ซิวิไลซ์” จับมากแล้ว31 และทรงกล่าวถึงสถานะของสยามในตอนนั้นว่า “ไทยเรายังมิทันที่จะ ได้ทะลึ่งขึ้นไปเท่าเทียมเขา เราจะมาเริ่มเดินลงเสียแล้วฤา”32 เมื่อนามาเทียบกับความเห็นของผู้นาการกบฏ ร.ศ.130 ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ จะพบความเห็นต่าง หลายประการ ร.ต.เหรียญ มีความเห็นเปรียบเทียบความรู้สึกที่เขามีต่อสยามและญี่ปุ่นว่า “…เศรษฐกิจของชาติซึ่งสมัยนั้นเรียกแยกกันว่า การกสิกรรม การอุตสาหกรรม และการพาณิชย์ ยัง หาได้ดาเนินไปเยี่ยงอารยะประเทศทั้ง หลายไม่ เช่น ประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ซึ่งเคยเดินคู่กันมาแท้ ๆ กับ เรื่องเดียวกัน. 27 Pankaj Mishra, From the ruins of empire, น. 133 28 เรื่องเดียวกัน, น. 132 29 Pankaj Mishra, From the ruins of empire, น. 3-5 30 สานักโฆษณาการ, คู่มือพลเมือง, น. 121 31 ณัฐพล ใจจริง , ปฏิวัติ ร.ศ. 130, น. 275-276 32 เรื่องเดียวกัน, น. 276 26 ประเทศไทย…”33 และ “ในช่วงไม่กี่ปีญี่ปุ่นก็มีการค้าไปทั่วโลกจากผลผลิตแห่งโรงงานอุตสาหกรรมของ ตนเอง มีการคมนาคมที่ทางน้าทางบกภายในประเทศและนอกประเทศอย่างกว้างขวางและการแผ่อิทธิพล ทางการเมือง การทหาร การสังคมและการวัฒนธรรมไปทั่วสากลพิภพอีกด้วย จนพวกฝรั่งที่เจริญมาก่อน ต้องจ้องมองชาติญี่ปุ่นด้วยดวงตาอันลุกโพลง”34 ตลอดจนเหตุการณ์ที่กองเรือรบญี่ปุ่นมีชัยชนะเหนือกองเรือรบของรัสเซียนั้น พวกเขาได้ตามอ่าน เรื่องราวเหล่านี้มาตลอดผ่านหนังสือที่เรียบเรียงด้วย น.ม.ส. หรือ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยา ลงกรณ์35 แม้ว่าจุดประสงค์ของพวกเขาจะไม่สาเร็จลุล่วงเพราะรัฐบาลได้สืบทราบจับกุมก่อนก็ตาม แต่ ข้อความที่ปรากฎในบทความที่รัฐบาลพบและได้ใช้เป็นหลักฐานในการฟ้องร้องคดีต่อพวกเขา คือบทความ ที่เขียนโดย ร.อ. ขุนทวยหาญศรีพิทักษ์(เหล็ง ศรีจันทร์) เรื่อง “ว่าด้วยความเสื่อมซามและความเจรียญของ ประเทศ” บทความดังกล่าวระบุข้อความที่มีความรุนแรงและมีเนื้อต่อต้านระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อย่างรุนแรง อีกทั้ง ร.อ. เหล็ง ได้ชมเชยญี่ปุ่นว่า เป็นประเทศเล็กน้อยที่อยู่ในเอเชียก็จริง “แต่ยี่ปุ่นมีอานาจ เท่าเทียมกับมหาประเทศก็เพราะได้จัดการเปลี่ย นแปลงประเพณีการปกครองได้เร็ว ”36 และได้กล่าวถึง สถานะของสยามอย่างน่าสนใจว่า “…ประเทศสยามหมดอานาจลงทุกทีเพราะไม่มีเงินทองพอสาหรับส้างเครื่องมือไว้ป้องกันตัว เป็น เหตุให้ต่างประเทศเข้ามาแบ่งปันเอาอาณาเขตร์ไปเป็นก่ายกอง คิดดูถึงประเทศญี่ปุ่นที่เล็กกว่าสยาม เหตุใด ญี่ปุ่นจึงมีเงินพอสาหรับบารุงเครื่องมือจนญี่ปุ่นมีอานาจเท่ากับมหาประเทศ…”37 สอดคล้องกับรัฐบาลหลังปี พ.ศ.2475 เป็นต้นมาโดยเฉพาะในสมัยของพระยาพหลพลพยุหเสนา รัฐบาลคณะราษฎรได้ดาเนินการปกครองประเทศและมีนโยบายที่เป็นตัวของตัวเองมากขึ้น พวกเขาได้ละทิ้ง รูปแบบการผ่อนผันและประนีประนอมกับกลุ่มเจ้านายและกลุ่มอนุรักษ์นิยมอย่างที่รัฐบาลของพวกฝ่าย กลางอย่ างพระยามโนปกรณ์นิติธ าดาเคยได้กระทา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลัง เหตุก ารณ์ก บฏบวรเดช พ.ศ.2476 เมื่อกลุ่มคณะราษฎรสายทหารเริ่มมีบทบาททางการเมืองอย่างสูงเด่น เหตุเพราะได้เกิดมีความคิด และการปฏิ บั ติ ใ นฐานะเป็ น ผู้ พิ ทั ก ษ์ รั ก ษาระบอบรั ฐ ธรรมนู ญ นอกจากนี้ พ วกเขายั ง ได้ ย อมรั บ เอา แนวความคิดชาตินิยมไปปฏิบัติมากขึ้น เช่น โครงการเรี่ยไรซื้ออาวุธเพื่อกองทัพเป็นรั้วของชาติ การพิมพ์ แผนที่มหาอาณาจักรไทยออกจ่ายแจกภายในปี พ.ศ.2477 รวมไปถึงการจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรมขนาด ย่อม เช่น โรงงานปั่นด้าย โรงงานน้าตาล ต่อมาจึงมีการโอนกิจการของเอกชนบางประเภทมาเป็นของรัฐบาล เรื่องเดียวกัน, น. 29 เรื่องเดียวกัน, น. 29-30 35 เรื่องเดียวกัน, น. 49 36 เรื่องเดียวกัน, น. 247 37 เรื่องเดียวกัน, น. 249 33 34 จนมาถึง พ.ศ.2480 เมื่อได้แก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับมหาอานาจเรียบร้อยสมบูรณ์แล้วรัฐบาลซึ่งนา โดยคณะทหารและข้าราชการจึงได้ดาเนิ นนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยมอย่างเข้มแข็ง 38 อย่างไรก็ดีการอธิบาย ความหมายของเอกราชสมบูรณ์ ของคณะราษฎรเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับแนวความคิดของบรรดาผู้นาชาว ญี่ปุ่นในวงการราชการ อาทิ นักการทูต ในทัศนคติของชาวญี่ปุ่นการที่คณะราษฎรในระยะเริ่มแรกได้ก่อการ ปฏิวัติและให้มีรัฐธรรมนูญโดยให้เจ้านายอยู่เหนือการเมือง แต่กลับมิได้ขจัดที่ปรึกษาชาวยุโรปและอเมริกัน ที่ผลักดันการเมืองอยู่เบื้อหลัง จึงเท่ากับว่ารัฐบาลคณะราษฎรยังมิได้กุมอานาจการปกครองประเทศได้อย่า ง แท้ จริง 39 เป็ นที่ น่าสัง เกตว่ารัฐบาลคณะราษฎรให้ความส าคั ญกั บ ประเทศญี่ปุ่ นเป็ นอั นมาก 40ในขณะที่ ความรู้สึกหวั่นเกรงการแทรกแซงของมหาอานาจตะวันตกโดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศสก็น่าจะมีผลต่อ ท่าทีของคณะราษฎรอยู่ไม่น้อย41 ยาสุกิจิ ยาตาเบ นักการทูตชาวญี่ปุ่นประจาสยาม เป็นอีกผู้หนึ่งที่ได้บันทึกเรื่องราวของการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 ไว้อย่างน่าสนใจ (ซึ่งในขณะนั้นสยามยังไม่ได้รับเอกราชสมบูรณ์ ) เขาได้กล่าวถึงสถานภาพของ สยามในช่วงก่อนเกิดเหตุการณ์ปฏิวัติ พ.ศ.2475 ว่า “…ลั ก ษณะก้ าวหน้ าของกลุ่ม ก้ า วหน้ า หมายความว่า อะไร เรื่ อ งนี้ พิ จ ารณาได้ 2 ด้ า น คื อ ด้ า น ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กับ ด้านของการเมืองภายในประเทศ อาจกล่าวได้ว่า ทุกคนมีความเห็นพ้อง กันว่าประเทศสยามเป็นเอกราช แต่ว่าประเทศสยามสามารถกระทาการได้ด้วยตนเองโดยไม่ตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลของประเทศมหาอานาจในด้านการเมืองและเศรษฐกิจหรือไม่ เรื่องนี้น่าสงสัยอยู่เป็นอย่างมาก ถ้า ประเทศสยามไม่มีความสามารถเช่นนั้นจริง ๆ ความเอกราชก็เป็นเพียงแต่ชื่อ การปลดปล่อยประเทศสยาม ให้หลุดพ้ นจากอิท ธิพ ลและการบั ง คั บ จากต่างชาติจึง มี ความหมายเป็ นการฟื้ นฟู ความเป็ นเอกราชของ ประเทศสยามอย่างแท้จริง ความสาเร็จของการแก้ไขปัญหาที่กล่าวมานี้เป็นเงื่อนไขที่จาเป็นอย่างยิ่งยวด…”42 ดังนั้น ยาตาเบจึงสรุปทิ้งท้ายไว้อย่างน่าสนใจว่า ในขณะที่เจ้านายสยามตกเป็นทาสของความคิด อนุรักษ์นิยม การฟื้นฟูเอกราชในทางการเมืองและเศรษฐกิจจึงมีความจาเป็นในประการแรก คือ โค่นล้ม นักการเมืองเจ้านายผู้มีจิตใจแบบอนุรักษ์นิยมลงเสีย43 นั่นคือการปฏิวัติสยามโดยคณะราษฎรในเช้ามืดวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เห็นได้ชัดว่าในสายตาของชาวญี่ปุ่นผู้ทรงอิทธิพลผู้หนึ่งในสยาม การปฏิวัติสยาม 38 นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ , ความคิด ความรู้ และภูมิปัญญา การปฏิวัติ 2475, น. 174 โยชิกาวา โทชิฮารุ , สัญญาไมตรีญี่ปุ่น-ไทย สมัยสงคราม, น. 7 เรื่องเดียวกัน. 41 ธีระ นุชปี่ยม , ฝรั่งมองไทยใสมัยรัชกาลที่ 7 ,น. 158 42 ยาสุกิจิ ยาตาเบ , บันทึกทูตญีป่ ุ่นผู้เห็นการปฏิวัติ 2475, น. 17-18 43 เรื่องเดียวกัน, น. 18 39 40 เป็นเรื่องก้าวหน้าที่จะพาสยามไปสู่ความเจริญทัดเทียมกับประเทศมหาอานาจอื่น ๆ อย่างที่ญี่ปุ่นได้กระทา สาเร็จมาแล้ว โดยมีปัจจัยหลัก คือ การจากัดอิทธิพลของชาวต่างประเทศทั้งต่อนโยบายภายในประเทศและ นอกประเทศของสยามเป็นอันดับแรก ก้าวเข้าสู่ยุคแห่งเอกราชอันสมบูรณ์ แม้ว่าคณะราษฎรมักจะกล่าวถึง “เอกราชสมบูรณ์” ในหลายครั้งหลายโอกาส แต่อย่างไรก็ดีนิยาม เฉพาะของคานี้นั้นนับว่ามีอยู่น้อยมาก และในมุม มองของแต่ละท่านก็มีความแตกต่างกันในรายละเอียด แม้ว่าเหล่านี้จะเป็นเพียงในแง่แค่ความรู้สึกนึกคิดของคนกลุ่มหนึ่งซึ่งได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการทางสังคม ทั้งที่เป็นทางการ เช่น การศึกษาอบรมในสถาบันการศึกษา และไม่เป็นทางการ เช่น การติดตามความเป็นไป ของสถานการณ์ต่าง ๆ รวมถึงการพูดคุย แลกเปลี่ย นความคิ ดเห็นกั นในแวดวงต่าง ๆ 44 โดยเฉพาะกรณี ประเทศในยุโรปและญี่ปุ่น เป็นต้น ในมุมมองของสมาชิกคณะราษฎรที่เป็นนักกฎหมายแล้ว หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดูเหมือนจะเป็นผู้ มีบทบาทที่สุดในการเผยแพร่แนวความคิด เกี่ยวกับเอกราชสมบูรณ์ เค้าลางความคิดเรื่องนี้แม้ว่ายัง จะไม่ ปรากฏคาว่า “เอกราชสมบูรณ์” ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่จากการตรวจสอบแนวคิดจากตาราสอนที่ เขาเขียนขึ้น คือ คาอธิบายกฎหมายปกครอง ที่ใช้สอนบรรยายในโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมราวปี พ.ศ.2474 เขาได้ก ล่าวถึง รูปแบบรัฐไว้ 2 ประเภท คื อ รัฐเอกราชเต็ม ที่ และ รัฐเอกราชไม่ เต็มที่ โดยรัฐ ประเภทแรกนั้น หลวงประดิษฐ์มนูธรรมได้บรรยายไว้อย่างน่าสนใจว่า “….รัฐชนิดนี้ คือรัฐที่อาจใช้อานาจทั้งภายนอกและภายในได้โดยไม่ต้องฟังคาบัญชาของรัฐอื่น เช่น ในทวีปอาเซียมีประเทศญี่ปุ่น สยามและจีน เปอร์เซีย ตุรกี ส่วนการเกรงใจกันในระหว่างประเทศนั้นก็อาจมี ได้ แต่เมื่อไม่ปรากฏโดยเปิดเผยว่ารัฐใดจะต้องฟังบังคับบั ญชาของรัฐอื่นแล้ว ก็ยังถือว่าอื่นนั้นเป็ นเอก ราช….”45 จะเห็นได้ว่าหลวงประดิษฐ์มนูธรรมในตอนนั้นได้จัดให้สยามเป็น “ประเทศเอกราชเต็มที่” อาจด้วย เกี่ ย วข้ อ งกั บ ความปลอดภั ย ในหน้ า ที่ ก ารงานของตนที่ ไ ม่ ค วรท าตั ว เป็ น ปฏิ ปั ก ษ์ ต่ อ แนวคิ ด แบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทาให้เขาไม่สามารถที่จะระบุได้ชัดลงไปในรายละเอียดที่เขานึกคิดจริง ๆ อันเป็น แนวคิดทีข่ ัดแย้งกับ “สยามเอกราช” ในสายตาของชั้นสูงของสยามที่ยืนยันหนักแน่นถึงสถานะความเป็นเอก ราชมาโดยตลอด แต่ทั้งนี้หลวงประดิษฐ์มนูธรรมไม่ได้ฟันธงลงไปเสียทีเดียวว่า “รัฐเอกราชเต็มที่” ของเขา นั้น อาจปรากฏเงื่อนไขเฉพาะอื่นใดที่สามารถระบุเจาะจงลงไปได้อีก ยิ่งเมื่อตรวจสอบลงไปยังรูปแบบรัฐ ในประเภทที่ 2 คือ “รัฐเอกราชไม่เต็มที่” นั้น ปรากฏว่าเขาเพียงแต่บรรยายว่าเป็นลักษณะของรัฐที่ตกอยู่ใน วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ ใน 24 มิถนุ ายน 2475 ในกระแสการเปลี่ยนแปลงโลก, จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, น. 57 45 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , ประชุมกฎหมายมหาชนและเอกชนของ ปรีดี พนมยงค์ จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ วันแห่งการอสัญกรรมของผูป้ ระศาสน์การ ปรีดี พนมยงค์, น. 275 44 ความอารักขา (protectorate) ซึ่งแม้จะเป็นนิติบุคคลแต่อานาจทั้งภายในและภายนอกส่วนมากตกอยู่แก่รัฐที่ เป็นผู้พิทักษ์46 เมื่อพิจารณาถึงจุดนี้สยามซึ่งในมุมมองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมอาจเป็นประเทศที่มีเอก ราชอยู่บ้าง แต่จะด้วยติดเงื่อนไขหรือข้อจากัดแห่งระบอบการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทา ให้หลวงประดิษฐ์มนูธรรมจึงเลือกที่จะไม่แสดงความเห็น ของตนอย่างเต็มที่ แต่พลันเมื่อคณะราษฎรยึด อานาจการปกครองได้อย่างบริบูรณ์แล้ว หลวงประดิษฐ์มนูธรรมคนเดียวกันนี้ น่าจะเป็นผู้ที่ประดิษฐ์คาว่า “เอกราชสมบูรณ์” ขึ้นมาเป็นคนแรกลงในประกาศคณะราษฎร ดิเรก ชัยนาม เป็นสมาชิกคณะราษฎรผู้หนึ่งซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านการเมืองและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ อีก ทั้ ง ยั ง เคยเป็ นผู้บ รรยายในมหาวิท ยาลัย วิชาธรรมศาสตร์และการเมื อง ได้ก ล่าวถึง ความหมายของคาว่า “เอกราช” ไว้ในหนังสือ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เล่ม 1 ของเขา ซึ่งมีข้อความที่ สามารถจับเค้าลางได้ถึงการพยายามอธิบายความเป็น “เอกราชสมบูรณ์” เขากล่าวว่ารัฐต้องมีเอกราชและ อธิปไตย (Sovereignty) กล่าวคือ ไม่อยู่ในบังคับของใครทั้งภายในและภายนอก47 แม้ไม่ปรากฎคาใดกล่าวถึง “เอกราชสมบูรณ์ ” เลย แต่การให้ความหมายคาว่า “เอกราช” ของเขาช่างแตกต่างกับ “เอกราช” ในสมัย สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งความหมายของคาว่า “เอกราช” เป็นสถานะของรัฐสมัยใหม่ที่สัมพันธ์กับรัฐอื่น ๆ ความหมายจึงเทียบได้กับคาว่า “ความเป็นอิสระ” หรือ “Independence”48 ดังนั้นอิสรภาพที่เกี่ยวข้องกับการ ใช้อานาจอธิปไตยเหนือดินแดน หรือมีอิสระในการจะกาหนดนโยบายแห่งรัฐ เป็นการบ่งชี้ถึงการมีสถานะ เป็นรัฐเอกราช ซึ่งรัฐบาลกษัตริย์ทรงสามารถกาหนดพระบรมราโชบายต่าง ๆด้วยพระองค์เอง ท้ายที่สุดเมื่อเกิดการปฏิวัติสยามขึ้นความหมายของคาว่า “เอกราช” ก็ย่อมเปลี่ยนไปอีกครั้งโดย คณะราษฎรต่างตระหนักดีว่ารัฐสมัยใหม่นั้น “ย่อมมีอานาจเหนือดินแดนของตน มีสิทธิที่จะควบคุมการ ผลิต การขนส่ง การส่งออกซึ่งวัตถุดิบได้ 49” ซึ่งในขณะนั้นสยามยังคงถูกจากัดการผลิต การส่งออกและการ จัดเก็บภาษีศุลกากร โดยเฉพาะในสินค้าเกษตรที่ในดินแดนอาณานิคมของประเทศมหาอานาจอื่น ๆ สามารถ ผลิตได้ เช่น การส่งออกข้าวไปในดินแดนบริติชมลายาและบริติช ราชอินเดีย โดยข้าวที่สยามส่งออกไปยัง ดินแดนเหล่านี้ต้องบรรจุกระสอบที่สยามซื้อและนาเข้ามาจากบริติช ราชอินเดียของอังกฤษ50 รวมทั้งอิทธิพล ที่ปรึกษาชาวต่างประเทศในกระทรวงสาคัญๆ ของสยามในสมัยรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชย์ด้วย ทั้งนี้การ ตั้งเงื่อนไขเช่นนี้ทาให้กลุ่มคณะราษฎรมองว่าสยามในตอนนั้นยังไม่มี “เอกราชอันสมบูรณ์” เพราะยังคงถูก ผูกมัดการกาหนดนโยบายของชาติโดยสนธิสัญญาที่ทาไว้กับต่างประเทศ หรือกล่าวอย่างรวบรัด คือ “สยาม ยังคงไม่ถูกปลดปล่อยจากการถูกบังคับจากอิทธิพลภายนอก” ดังนั้นการมีอยู่ซึ่งศาลต่างประเทศในสยามก็ เรื่องเดียวกัน. ดิเรก ชัยนาม , ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เล่ม 1, น. 29 48 ธงชัย วินิจะกูล , Siam Mapped, น. 220 49 ดิเรก ชัยนาม , ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เล่ม 1, น. 59 50 ธีระ นุชเปี่ยม , การต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่ 7, น. 141 46 47 เป็นอีกตัวอย่ างหนึ่งถึงการตอกย้ าถึงการ “ไร้ซึ่งเอกราชสมบู รณ์ ” ของสยามในเวลานั้น (พ.ศ.2477) ใน คาอธิบายของม.ธ.ก. ว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม ได้กล่าวถึงการมีอยู่ของศาลต่างประเทศไว้ว่า “…หากจะพูดถึงหลักทั่วไปแล้ว คนต่างประเทศที่ตกไปอยู่ในเขตต์ของประเทศใด ต้องขึ้นอยู่ใน อานาจศาลและกฎหมายของประเทศนั้น แต่ในประเทศเรานี้หาได้เป็นไปตามหลักนี้ทีเดียวไม่….”51 เป็นที่น่าสนใจว่าสถาบันอุดมศึกษาที่ก่อตั้งโดยคณะราษฎรแห่งนี้คงเน้นย้าถึงหลักการนี้เป็นอัน มาก เพราะต้นฉบับของตาราเล่มนี้มีรอยดินสอขีดย้าและจดข้อความของเจ้าของเดิมไว้ อาทิ “…สิทธิเรื่องอานาจศาลจะบริบูรณ์ได้ต่อเมื่อได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายอย่างบริบูรณ์แล้วครบ ๕ ปี….”52 และเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาเมื่อศาลกงสุลได้ถอนคดีออกจากศาลสยามแล้ว อานาจฝ่ายสยาม ในคดีเช่นว่านี้จะสิ้นสุดลงตั้งแต่ขณะนั้นเป็นต้นไป53 อีกหนึ่งตัวอย่างที่น่าสนใจคือ ตาราการสอนเรื่อง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง ของ เดือน บุนนาค ซึ่งเขียนในปี พ.ศ.2477 เขากล่าวว่าการศึกษากฎหมายระหว่างเป็นเทศนั้นเป็นไปไม่ได้เลยที่ จะไม่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ หน้าที่และสิทธิของรัฐ กฎข้อบังคับที่ใช้ในระหว่างรัฐ 54 ซึ่งกระแส โลกในขณะนั้นได้ชี้ชัดแล้วว่าบรรดารัฐเอกราชทั้งหลายทั้งในยุโรปและตะวันออกไกล ไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ย่อมมีสิทธิเสมอเหมือนกัน ไม่ใช่ดั่งประเทศมหาอานาจกระทาต่อประเทศเล็ก ๆ อีกแล้วอย่างในสมัยเก่า รัฐ หรือ ประเทศ ในความหมายที่เดือน ให้ไว้หนังสือเล่มนี้ คือ “คณะบุคคลซึ่งรวมกันเป็นปึกแผ่นถาวร เป็นอิส สระบนดินแดนแคว้นหนึ่ง ซึ่งตนเป็นเจ้าของและอยู่ภายใต้อานาจเดียวกัน ซึ่งได้จัดวางไว้เป็นระเบียบ มุ่งให้ เป็นประกันแก่ทุกคนในการใช้เสรีภาพแห่งตน และในการที่จะถือเอาประโยชน์จากสิทธิ์ของตนนี้ ” 55และ “ลักษณะอันเป็นสาระสาคัญของรัฐ คือ พลเมือง ดินแดน ระเบียบการปกครอง อธิปไตย คืออานาจที่จะสั่ง บังคับโดยไม่ต้องอาศัยอานาจอื่นใดที่อยู่เหนือ ”56 เขายังกล่าวด้วยว่าไม่ว่าระเบียบการปกครองจะเป็นใน รูปแบบใด คณาธิปไตย ราชาธิปไตย หรือประชาธิปไตย ไม่ได้สาคัญเท่าอานาจสั่งการของผู้ปกครอง หรือ คาอธิบายของ ม.ธ.ก. ว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ.2477, น. 147 คาขีดเส้นใต้ย้าโดยเจ้าของเดิมของตาราเล่มนี้ เรื่องเดียวกัน, น. 148 53 เรื่องเดียวกัน. 54 เดือน บุนนาค , กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง, น. 1 55 เรื่องเดียวกัน, น. 33 56 เรื่องเดียวกัน. 51 52 “อานาจอธิป ไตย” ซึ่ง ต้องเป็ นอย่ างอิส ระมิ ได้ขึ้ นโดยอาศั ย อานาจของผู้อื่นใด 57 เดือน บุ นนาค ได้ส รุป ความหมายของคาว่าอธิปไตยและเอกราชไว้อย่างน่าสนใจว่า “…อธิปไตยทั้งภายในและภายนอก กล่าวอีกนัยหนึ่งมีเอกราช ไม่ขึ้นแก่ใคร อธิปไตยภายในก็คือมี อ านาจซึ่ ง สมาคมมนุ ษ ย์ มี อ ยู่ ใ นอั น ที่ จ ะวางกฎเกณฑ์ แ ห่ ง ความเป็ น อยู่ ข องตน จั ด ตั้ ง รั ฐ บาลตามหลั ก ความเห็นโดยเฉพาะของตน โดยมุ่งประสงค์ต่อจุดอันหนึ่งซึ่งกาหนดไว้ สามารถตราบทกฎหมายปราศจาก การแทรกแซงของชนต่างประเทศ อธิปไตยภายนอกก็คืออานาจที่จะเข้าทาการสัมพันธ์กับรัฐอื่นใดโดยอิส สระปราศจากการแทรกแซงของรัฐอื่น อธิปไตยไม่อาจแบ่งให้กันได้….ไม่มีอานาจใดอยู่เหนือ…..”58 ทั้งนี้เขาได้รวบยอดสรุปไว้ว่าอานาจอธิปไตยภายนอกก็คือการมี “เอกราช”59 และอธิปไตยนั้น คือ สิ ท ธิ ที่ จ ะท าอะไรก็ ไ ด้ ต ามใจชอบ มี ลั ก ษณะเด็ ด ขาด สมบู ร ณ์ (Absolute)60 ดั ง นั้ น ส าหรั บ รั ฐ ที่ เ คยถู ก มหาอานาจจากัดอานาจศาล ทั้งนี้ในยุโรปแต่เดิมมี ตุรกี กรีซ ในเวลาทั้ง 2 รัฐได้หลุดพ้นจากฐานะการเช่นนี้ แล้ว ส่วนในเอเชียนั้น แต่เดิมญี่ปุ่นก็ตกอยู่ ในฐานะเช่นนี้ แต่บัดนี้ญี่ปุ่นได้เอกราชอย่างสมบูรณ์ สาหรับ สยามก็เช่นกัน พิจารณาตรงนี้เขาได้สรุปสถานะของสยามไว้อย่างชัดเจนว่า “ยังไม่ได้เอกราชสมบูรณ์ในการ ศาล”61 ท้ายที่สุดแล้ว เดือน บุนนาคกล่าวว่าสยามจะได้รับ “เอกราชสมบูรณ์” ก็ต่อเมื่อสยามได้ร่างประมวล กฎหมายต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว หลังจากนั้นไป 5 ปี ฐานะสภาพนอกอาณาเขตต์ก็จะหมดสิ้นไปจาก สยาม62เช่นเดียวกับที่ดิเรกได้กล่าวไปก่อนหน้านี้ ด้วยเหตุนรี้ ัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนาจึงเริ่มการเจรจากับประเทศมหาอานาจต่าง ๆ เพื่อขอ ทาสนธิสัญญาใหม่จนแล้วเสร็จทุกประเทศราวปี พ.ศ.2481 โดยให้เหตุผลว่าสถานการณ์ในสมัยขอแก้ไข สนธิสัญญาไม่เสมอภาคระหว่างปี พ.ศ.2463-2469 ได้เปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว โดยในสมัยนั้นต่างประเทศ แสดงความเป็นห่วงว่ากฎหมายไทยยังไม่ทันสมัย บัดนี้สยามได้ประกาศใช้ครบถ้วนแล้วและเป็นกฎหมายที่ มีหลักดีไม่แพ้นานาประเทศ เพราะได้ผู้เชี่ยวชาญทั้งไทยและต่างประเทศมามากมายหลายท่าน 63 โดยสยาม ขอเสนอใช้หลักแห่งสนธิสัญญาเสมอภาค หรือ หลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน (Principle of Reciprocity) หลัก เรื่องเดียวกัน, น. 34-35 58 เรื่องเดียวกัน. 59 เรื่องเดียวกัน, น. 87 60 เรื่องเดียวกัน. 61 เรื่องเดียวกัน, น. 127 62 เรื่องเดียวกัน, น. 128 63 ดิเรก ชัยนาม , ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2, น. 17 57 ความเป็นธรรม (Principle of Equity) และหลักคุณประโยชน์แก้กันและกัน (Principle of Benefit) ซึ่งนานา ประเทศได้ตกลงรับหลักการดังกล่าวนี้ 64 ในทัศนคติของดิเรก ชัยนาม เขามองว่าสนธิสัญญาที่ได้ท าใหม่ เหล่านี้ทาให้สยามได้อิสรภาพเรื่องอานาจศาลและภาษีกลับคืนมาโดยเต็มที่และเป็นเอกราชโดยสมบู รณ์ แล้ว65 เพราะสนธิสัญญาใหม่นี้เป็นแบบเดียวกับที่อารยประเทศทาต่อกัน กล่าวคือ ให้ผลปฏิบัติอย่างชาติที่ ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่งในเรื่องการค้าและพาณิชย์และให้ผลปฏิบัติอย่างชาติพื้นเมืองในเรื่องภาษีอากร และ เขาเองก็มีแนวโน้มอธิบายการเรียกร้อง “เอกราชสมบูรณ์” ของสยามโดยจงใจเปรีย บเทียบกับการปฏิวัติ ศาสตร์การปฏิรูปและเรียกร้องเอกราชสมบูรณ์ของญี่ปุ่นต่อมหาอานาจตะวันตกในสมัยเมอิจิด้วย66 นอกเหนือไปจากบรรดาสมาชิกคณะราษฎรแล้ว หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ 67 ทรงเป็ น น้าพักน้าแรงอันสาคัญในรัฐบาลคณะราษฎรหลายสมัยอีกด้วย สาหรับแนวความคิด “เอกราชสมบูรณ์” นี้ พระองค์ได้ทรงกล่าวถึงในหลายวาระและโอกาส โดยทรงอธิบายถึง “เอกราชสมบูรณ์” ว่า ประเทศสยามใน สมัยนั้นยังไม่มีเอกราชสมบูรณ์เพราะว่าในทางศาล พนักงานกงสุลบางประเทศยังมีสิทธิถอนคดีบางอย่างที่ มีคนในบังคับของเขาเกี่ยวข้องอยู่ไปจากศาลของประเทศสยามไปพิจารณาในศาลกงสุลของเขาได้ ในทาง โภคกิจยังมีข้อสัญญามัดมือประเทศสยามไม่ให้เก็บภาษีศุลกากรเกินกว่าอัตราเกินกาหนดสาหรับสินค้าขา เข้าบางอย่าง และในทางการเมืองประเทศยามยังมีพันธะต้องใช้ที่ปรึกษาชาวต่างประเทศ68 จนเมื่อ “…ใน พ.ศ.2475 ประเทศไทยได้เปลี่ยนระบอบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็น แบบรัฐธรรมนูญและในหลัก 6 ประการที่ ตั้ง ขึ้ นเป็ นหลัก มู ล นโยบาย ก็ มี หลัก เอกราชเป็ นหลัก ที่ 1 คื อ จะต้องจัดการเอาอานาจอธิปไตยกลับคืนมาให้ได้เต็มที่ และจะต้องปลดเปลื้องข้อผูกมัดอันเป็นอุปสรรคต่อ ทางก้าวหน้าของชาติ อุปสรรคเช่นว่านี้ ได้แก่ 1. ความไม่สมบูรณ์ในอานาจอธิปไตยของไทยประการซึ่งยัง มีอยู่ชั่วคราว 2. ข้อผูกมัดที่ไม่เสมอภาคบางประการ 3. ถ้อยทีถ้อยผูกพันบางประการ ซึ่งมีผลจากัดเสรีภาพ ของไทยในการวางแผนนโยบายแห่งชาติเกินสมควรไป…”69 เรื่องเดียวกัน. เรื่องเดียวกัน. 66 เรื่องเดียวกัน, น. 19-23 67 ต่อมาคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ 68 เรื่องเดียวกัน, น. 423 69 กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ , ประวัติการทูตของไทย, น. 55 64 65 และพระองค์ทรงกล่าวถึงเรื่องนี้ภายหลังราวปี พ.ศ.2509 ด้วยว่าตั้งแต่เสร็จสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศไทยก็พยายามได้สิทธิอธิปไตยคืนมา ที่ปรึกษาชาวอเมริกันมี ดร.แสยร์ เป็นต้นได้ช่วยเต็มที่ และ รัฐบาลอเมริกันก็เห็นอกเห็นใจช่วยเหลือเป็นอย่างดี จนในที่สุดภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญ เราจึงได้อานาจ อธิปไตยบริบูรณ์คืนมา70 ต่อมาเมื่อสัญญาใหม่กับประเทศต่าง ๆ ที่ทาในยุครัฐบาลระบอบรัฐธรรมนูญซึ่งแล้วเสร็จราวปี พ.ศ.2481 โดยปรากฏเงื่อนไขว่าสยามสามารถบอกเลิกได้หรือแก้ไขใหม่ ได้หากสยามต้องการ นั่นเท่ากับว่า สนธิสัญญาใหม่นั้นเสมอภาคและเป็นแบบแผนนิย ม 71 และท้ายที่สุดก็ถือว่าประเทศสยามมีระบอบการ ปกครองที่ทันสมัยและเป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์แล้ว 72 อย่างไรก็ดีมีข้อน่าสังเกตอยู่บางประการ ประการแรก คือทั้งในทัศนะของนายดิเรก ชัยนาม และหม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ ต่างเห็น พ้อง ต้องกันว่าเอกราชในทางศาลนั้นเป็นเรื่องที่ไม่ได้สาคัญมากมายนัก โดยเฉพาะหม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรว รรณ ทรงเห็นว่าการจากัดอานาจศาลรวมไปถึงการจากัดภาษีศุลกากรเป็นการตายตัวเป็นเรื่องเล็กน้อยเท่านั้น เป็นการจากัดอานาจอธิปไตยของไทยโดยไม่มีปัญหา 73 ซึ่งแตกต่างกับในทัศนะของบรรดานักกฎหมาย โดยเฉพาะหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ซึ่งมองว่าการไม่มีเอกราชในทางศาลนั้นเป็นเรื่องร้ายแรงมากดัง ที่ได้ กล่าวมาแล้วข้างต้น ประการที่ 2 ทั้ง ดิเรก ชัยนามและหม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ นั้นมีทัศนคติต่อ ชาวต่างชาติในแง่บวก กล่าวคือ ส่วนใดที่เป็นคุณงามความดีจากความสามารถของชาวต่างชาติ บุคคลทั้ง 2 ท่ า นก็ ก ล่ า วชมอย่ า งใจจริ ง อาทิ กรณี ที่ ดร.ฟานซิ ส บี . แซร์ ที่ ป รึ ก ษาการต่ า งประเทศในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ช่วยเจรจากับชาติมหาอานาจจนมหาอานาจเหล่านั้นยอมให้สยามได้ทาการแก้ไข สนธิสัญญาไม่เสมอภาคในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 นายดิเรก ชัยนาม ได้กล่าวออกปากชื่นชม ดร.ฟาน ซิส บี. แซร์ (พระยากัลยาณไมตรี) ว่า “ไทยได้คนดีมาช่วย คือ พระยากัลยาณไมตรี ”74 หรือกรณีที่หม่อมเจ้า วรรณไวทยากร วรวรรณได้กล่าวชื่นชมดร.ฟานซิส บี. แซร์ และประเทศสหรัฐอเมริกา ในการให้ความ ช่วยเหลือและเห็นอกเห็นใจประเทศสยามในคราวขอแก้ไขสนธิสัญญาในสมัยรัชกาลที่ 6 เช่นกัน75 ต่างกับ คณะข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศ , ประเพณีการแต่งงานของชนชาวเอธิโอเปีย และ ประสบการณ์ในการรับ ราชการในต่างประเทศ อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายจาเนียร เกียรตินาถ, น. 15 71 กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ , ประวัติการทูตของไทย, น. 56 72 เรื่องเดียวกัน, น. 64 73 เรื่องเดียวกัน, น. 29 74 ดิเรก ชัยนาม , ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เล่ม 1, น. 16 75 คณะข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศ , ประเพณีการแต่งงานของชนชาวเอธิโอเปีย และ ประสบการณ์ในการรับ ราชการในต่างประเทศ อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายจาเนียร เกียรตินาถ, น. 15 70 หลวงประดิษ ฐ์ม นูธ รรม ซึ่ง มั ก จะกล่าวชื่ นชมผลงานว่าเป็ นของคนไทยเท่านั้น เขาถึง กั บ กล่าวว่าผู้ที่มี บทบาทอันแท้จริงในการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือ สมเด็จพระยาเทวะ วงศ์วโรปการณ์ เพราะ “ย่อมจะมีความรู้ความชานาญสูงส่งหรือเหนือกว่าดร.แซร์มาก”76และสนธิสัญญา ใหม่ที่ทาไว้ในปี พ.ศ.2467-2469 พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ทรงอานวยการรับผิดชอบในฐานะเสนาบดี ขณะที่ดร.แซร์มีความชอบในฐานะที่ปรึกษาเท่านั้น 77 การที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมพยายามเปรียบเที ยบ ความสามารถของข้าราชการชาวไทยและที่ปรึกษาชาวต่างชาตินับว่าเป็นกรณีที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะ แม้ว่าชาวไทยเหล่ านั้นจะเป็นเจ้านายชั้นสูง แต่อย่างไรเสีย เขาก็ให้คุณค่าแก่คนในชาติเดียวกันมากกว่า ชาวต่างชาติ เหล่านี้ผู้เขียนเข้าใจว่าย่อมเป็นการแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของระดับทัศนคติของแนวคิด ชาตินิยมที่มีไม่เท่ากันในกลุ่มของคณะราษฎรหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ไม่น้อย การจัดทาหนังสือ คู่มอื พลเมือง กับการเผยแพร่แนวคิดเอกราชสมบูรณ์ การจัดทาหนังสือ คู่มือพลเมือง โดยสานักงานโฆษณาการนั้น มีจุดประสงค์เพื่ออธิบายการปกครอง อย่างรัฐธรรมนูญ ให้ประชาชนคนไทยเข้าใจถึงสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองของตน โดยมีลักษณะเนื้อหา ของหนังสือที่ไม่หนักในด้านวิชาการจนเกินไป 78 จานวนที่ตีพิมพ์ในราวปี พ.ศ.2479-2480 นั้น มีจานวน 50,000 เล่มในการพิมพ์ครั้งที่ 1 และ 279 ต่อมาในการแก้ไขปรับปรุงและจัดพิมพ์ขึ้นมาใหม่เป็นครั้ งที่ 3 นี้ รัฐบาลได้พิมพ์ขึ้นอีก 40,000 เล่ม ซึ่งนับว่าเป็นหนังสือที่มีจานวนถูกผลิตขึ้นมามากและคาดว่าคงกระจายไป ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทยในตอนนั้น เมื่อพิจารณาจากหน้ารองปก มีการพิมพ์คาว่า “ไทย-เอกราษฎร์” ไว้ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่ ควรต้องกล่าวไว้ด้วยว่าแม้ว่ าในขณะนั้นชื่อประเทศสยามยังไม่ถูกเปลี่ยนมาเป็น “ประเทศไทย” แต่การนิยมเรียกตัวเองว่า “คนไทย” ในสมัยนั้นก็เป็นที่นิยมแล้วในระดับหนึ่ง พิจารณาจาก การแทนชื่อชาวสยามว่า “ไทย” หลายครั้งในหนังสือเล่มเดียวกันนี้ เข้าใจว่าเป็นการย้าถึงแนวความคิดเชื้อ ชาตินิยมซึ่งเป็นแนวความคิดที่เริ่มมีอิทธิพลแล้วในสมัยนั้น อย่างไรก็ดีการย้าคาว่า “ไทย-เอกราษฎร์” ถือว่า เป็นการตอกย้าถึงแนวความคิด “เอกราชสมบูรณ์” ซึ่งถูกกล่าวถึงในจานวนครั้งที่ค่อนข้างมากในหนังสือเล่ม นี้เช่นกัน มีการให้ความหมาย “ประเทศเอกราษฎร์” ไว้ด้วยเช่นกัน คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์, น. 188-189 77 เรื่องเดียวกัน. 78 สานักโฆษณาการ, คู่มือพลเมือง, น. ก-ค 79 เรื่องเดียวกัน, น. ก 76 “…การที่จะเรียกประเทศใดว่าเป็นเอกราษฎร์ได้ก็คือประเทศนั้นมีอานาจเต็มในทางจัดการปกครอง บ้านเมืองของตนทั้งภายในและภายนอกได้โดยอิสสระ ไม่ต้องคอยรับคาสั่งจากประเทศอื่นใด…”80 ทั้งนี้ มีการกล่าวถึงประเทศอื่น ๆ คือ บรรดาประเทศมหาอานาจ ว่าไม่ควรเบียดเบียนความเป็นเอก ราษฎร์หรือผลประโยชน์ส่วนได้ส่วนเสียของประเทศอื่น 81 อันเป็นการตอกย้าถึงความรู้สึกภายในใจของผู้ แต่งหนังสือที่มองว่าสยามได้ถูกลิดรอนความเป็นอิสระทั้งในการบริหาร การศาลและการเศรษฐกิจจาก ประเทศมหาอานาจเหล่านั้น โดยเฉพาะประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส โดยมีการย้าว่าประเทศเหล่านั้นต้อง เคารพต่อสิทธิของประเทศอื่นด้วย82 คู่มือพลเมืองจึงได้ประเมินสถานะภาพของประเทศสยามในขณะนั้นไว้ อย่างน่าสนใจว่า “…สยามเป็นประเทศเอกราษฎร์ แต่ความเป็นเอกราษฎร์ของสยามได้ถูกจากัดโดยสัญญาระหว่าง ประเทศ...”83 ดังนั้นแล้วหนังสือเล่มนี้จึง สรุปสถานภาพของสยามว่าหามีเอกราษฎร์เต็มภาคภูมิไม่ 84 ด้วยเหตุว่า “เอกราษฎร์ในทางศาลยังหามีพร้อมบริบูรณ์ตามที่ควร เพราะศาลของเราทุกศาลหาได้มีอานาจพิจารณา พิพากษาคดีบางประเภทอันเกี่ยวกับชาวต่างประเทศด้วยไม่ เราต้องตั้งแผนกพิเศษขึ้นโดยเฉพาะ สาหรับ พิจารณาพิพากษาคดีซึ่งคนในบังคับอังกฤษบางจาพวกและพลเมืองของฝรั่งเศสเป็นคู่ความ”85 และ “เอก ราษฎร์ในทางเศรษฐกิจนั้น เช่น การเก็บภาษี เป็นต้น ประเทศที่เป็นเอกราษฎร์ย่อมมีสิทธิที่จะวางพิกัดอัตรา ตั้งเก็บตามที่เห็นสมควร ไม่ถูกบังคับให้ต้องกระทาการให้เป็นประโยชน์แก่ประเทศใดเลย สาหรับประเทศ สยามของเรายังขาดเอกราษฎร์อันพร้อมบูรณ์ในทางเศรษฐกิจอยู่ โดยฉะเพาะอย่างยิ่งการเก็บภาษีสินค้า ต่างประเทศที่ส่งเข้ามาจาหน่ายในประเทศเรา ประเทศยามต้องถูกจากัดให้เก็บเพียงเล็กน้อยโดยสัญญาที่เรา มีต่อประเทศซึ่งเราจาใจต้องรับเอา”86 เรื่องเดียวกัน, น. 124 81 เรื่องเดียวกัน, น. 176 82 เรื่องเดียวกัน, น. 184-185 83 เรื่องเดียวกัน, น. 187 84 เรื่องเดียวกัน. 85 เรื่องเดียวกัน, น. 188 86 เรื่องเดียวกัน, น. 189 80 จากเหตุผลที่ได้สะท้อนออกมาจากข้อความข้างต้น รัฐบาลคณะราษฎรจึงได้กล่าวถึงความยุ่งยาก ต่าง ๆ เนื่องจากการดารงอยู่ของ “เอกราชไม่สมบูรณ์” ไว้อย่างน่าเห็นใจว่า “เอกราษฎร์อย่างพร้อมบริบูรณ์ นั้น ทุก ๆ ประเทศย่อมมีความปรารถนาที่จะได้รับเป็นอย่างยิ่ง เพราะการถูกจากัดความเป็นเอกราษฎร์นั้น ย่อมทาให้ประเทศที่ได้รับต้องตกอยู่ในฐานะลาบากและประสพความยุ่งยากแก่ใจเสมอ ไม่มีประเทศใดเลย ในโลกที่ จ ะมี ค วามพอใจในความเป็ น เอกราษฎร์ อั น ถู ก จ ากั ด ไม่ ส ามารถด าเนิ น การปกครองได้ โดยสะดวก87” ดังนั้นเพื่อที่จะขจัดปัญหา “เอกราชไม่สมบูรณ์” ดังกล่าว “…รัฐบาลได้เล็งเห็นผลแห่งความเสียหายดังกล่าวมาแล้ว จึ่งได้พยายามเร่งรัดทุกทางเพื่อที่จะทาให้ บ้านเมืองเจริญขึ้น แสดงให้ประเทศต่าง ๆ เห็นความก้าวหน้าและความจาเป็นของเรา จะได้เป็นช่องทางร้อง ขอให้ต่างประเทศแก้ไขสัญญากับเราเสียใหม่ ให้เราได้รับความเป็นความเป็นเอกราษฎร์สมบูรณ์เทียมบ่า เทียมไหล่นานาประเทศ….”88 ท้ายที่สุดรัฐบาลจึงสรุปความพยายามต่าง ๆ ที่ได้พยายามบากบั่นและจัดการปกครองเสียใหม่ให้ เจริญยิ่งขึ้นในสายตาต่างประเทศ และพวกเขาคาดหวังว่า “…การกระทาต่าง ๆ ดั่งที่ได้พรรณนามานี้ ย่อมเป็นการแสดงให้เห็นได้ดีว่าประเทศสยามในสมัย รัฐธรรมนูญได้ก้าวหน้าไปอย่างมากมายและมีความเจริญเพียงพอ สมเป็นประเทศเอกราษฎร์อย่างสมบูรณ์ แล้ว….”89 จะเห็นได้ว่าการพยายามเรียกร้อง “เอกราษฎร์สมบูรณ์” หรือ “เอกราชสมบูรณ์” ได้ถูกถ่ายทอดแก่ ประชาชนทั่ ว ไปผ่ า นหนั ง สื อ คู่ มื อ พลเมื อ ง ซึ่ ง มี ค วามเป็ น รู ป ธรรม จั บ ต้ อ งได้ และต้ อ งการสื่ อ ไปถึง ประชาชนโดยทั่วไป อย่างไรก็ดีคงไม่มีสิ่งใดชัดเจนไปกว่าประกาศสานักนายกรัฐมนตรีสมัยรัฐบาลหลวง พิบูลสงคราม ในวาระที่ได้แก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับนานาประเทศสาเร็จเสร็จสิ้นในปีก่อนหน้านั้น90 และถือว่าเมื่อสยามได้เอกราชสมบูรณ์กลับคืนมาแล้วย่อมถือว่าฐานะและองค์ประกอบของความเป็นชาติ นั่ น คื อ อ านาจอธิ ป ไตย นั้ น มี ค วามสมบู ร ณ์ ทั้ ง ภายในและภายนอกแล้ ว ดั ง ที่ ไ ด้ มี ป ระกาศส านั ก เรื่องเดียวกัน, น. 189-190 88 เรื่องเดียวกัน, น. 191 89 เรื่องเดียวกัน, น. 192 90 วรชาติ มีชูบท, สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า, น. 423 87 นายกรัฐมนตรี เรื่อง การแก้ไขสนธิสัญญากับนานาประเทศเป็นผลสาเร็จเป็นความชอบในราชการของชาติ เราควรตราไว้เป็นสาคัญ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 248191 ว่า “…ด้วยบัดนี้ประเทศสยามได้แก้ไขสนธิสัญญากับนานาประเทศเสร็จสิ้นแล้ว ชาติไทยเราได้รับ สิทธิเสมอภาคทุกประการ ซึ่งย่อมจะเป็นเกียรติและเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติเป็นอันมาก....สนธิสัญญา ฉะบับใหม่กับนานาประเทศนั้น นอกจากคืนเอกราชและความเสมอภาคอันบริบูรณ์ให้แก่สยามแล้ว ยังเป็น ความตกลงซึ่งสงวนสิทธิและเสรีภาพที่จะดาเนินนโยบายตามความต้ องการของชาติไว้ตามสมควร และเป็น ความตกลงแบบเดียวซึ่งแสดงมาตรฐานความสัมพันธ์ไมตรีกับนานาประเทศไว้โดยสม่าเสมอกัน…”92 สรุป “เอกราชสมบูรณ์” เป็นแนวความคิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากกระแสชาตินิยมหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 และรวมถึงกระแสโลกหลังสงครามอันถือว่าทุกชาติบนโลกไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ก็ล้วนแล้วแต่มีความเท่า เทียมกัน ประเทศมหาอานาจตะวันตกเริ่มเสื่อมความยิ่งใหญ่ในสายตาชาวตะวันออกเพราะผลกระทบจาก ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก และการก้าวเข้ามามีบทบาทของประเทศจากตะวันออกไกลในกระแสอานาจ โลก เช่น ญี่ปุ่น รวมไปถึงบทบาทของประเทศจากตะวันออกไกลในเวทีประชาคมนานาชาติ อาทิ การที่ สยามเองเป็นประเทศที่ได้ ร่วมก่อตั้งสันนิบาตชาติ ทั้งนี้ ความเท่าเทียมของชาติต่าง ๆ นี้หมายถึงความมี อิสระเสรีที่จะกาหนดนโยบายแห่งชาติของตนเอง และไม่ได้ตกอยู่ในอิทธิพลครอบง าหรือบงการของ มหาชาติใด ๆ ดังนั้น “เอกราชสมบูรณ์” ของคณะราษฎรจึงแบ่งออกเป็น 2 ด้านกว้าง ๆ คือ “เอกราชภายใน” คือ สามารถกาหนดนโยบายภายในประเทศได้อย่างอิสระเสรี เช่น การกาหนดรูปแบบการปกครอง การบังคับใช้ กฎหมาย และการตัดสินใจด้านการคลัง ส่วน “เอกราชภานอก” คื อ การมี อิส ระที่ จะท าสนธิสัญญากับ ต่างประเทศเองได้ การไม่ถูกผูกมัดด้วยการค้าหรือภาษีกับต่างชาติ หรือไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของชาติใดที่ จะเอารัดเอาเปรียบได้ 91 92 เรื่องเดียวกัน. เรื่องเดียวกัน, น. 424-425