นี่คือไฟล์ http://iadopa.org/training/2561/portfolioNO72/57.%20%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%A8%20%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5.ppt ในรูปแบบ html Google สร้างรูปแบบ html ของเอกสารขึ้นโดยอัตโนมัติขณะที่เราทำการ Crawl บนเว็บ
เคล็ดลับ: ในการค้นหาข้อความค้นหาของคุณในหน้าเว็บนี้อย่างรวดเร็ว ให้กด Ctrl+F หรือ ⌘-F (Mac) และใช้แถบค้นหา
บทบาทของ ศอ,บต. กับการแก้ไขปัญหาความไม่สงบเรียบร้อยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

บทบาทของ ศอ,บต. กับการแก้ไขปัญหาความไม่สงบเรียบร้อยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้  

นายเลอยศ พุทธชิโนรสสกุล

หลักสูตรนายอำเภอ รุ่นที่ 72

หมายเลขประจำตัว นอ. 72.5470

วัตถุประสงค์ของการศึกษา 

วิธีและขอบเขตการศึกษา  

ผลการวิจัย  

1. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงของจังหวัดชายแดนภาคใต้

2. บทบาทของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)ในการแก้ไขปัญหาความแตกต่างทางวัฒนธรรม 
 

   จะเห็นได้ว่าปัจจุบันปัญหาเรื่องความแตกต่างทางวัฒนธรรมไม่ได้เป็นปัญหาหลักและมีความรุนแรงเหมือนเช่นในอดีต ปัญหาเกิดความไม่เข้าใจในหลักศาสนาอิสลามโดยผู้ที่

   จะเข้ามาปฏิบัติงานไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามก็ได้ แต่ต้องเป็นผู้ที่เข้าใจหลักศาสนาอิสลามเป็นอย่างดี มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนกับข้าราชการในพื้นที่ได้ โดยศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ได้เปิดโอกาสให้ผู้นำศาสนาอิสลามเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ร่วมกันทำให้ลดความหวาดระแวงและไม่เข้าใจกัน ดังนั้น ปัญหาความแตกต่างทางวัฒนธรรมก็จะลดความรุนแรงลงตามลำดับ

3. บทบาทของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ในการพัฒนาประสิทธิภาพของข้าราชการในพื้นที่ 
 

4. แนวทางการทำงานในอนาคตของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) 
 

   เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแทนการให้น้ำหนักในการแก้ไขปัญหาความมั่นคง เนื่องจากสถานการณ์ได้คลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้นแล้ว

ข้อเสนอแนะ  

  1. ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ควรยังคงดำรงอยู่ในฐานะหน่วยงานสำคัญของรัฐในการทำหน้าที่แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อไป และควรพิจารณาปรับปรุงบทบาทอำนาจหน้าที่ให้องค์กรนี้สามารถบริหารจัดการนโยบายต่างๆ  ได้อย่างมีเอกภาพมากยิ่งขึ้น
  2. ควรพิจารณาจัดตั้งองค์กรอิสระที่ประกอบด้วยตัวแทนของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ขึ้นมาทำหน้าที่ประสานความร่วมมือกับ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ทั้งนี้เพราะเหตุว่าคนในพื้นที่ย่อมมีความรู้ความเข้าใจปัญหาต่าง ๆ ในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทำให้การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ประสบผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น
  3. รัฐบาลควรฟังเสียงประชาชนในท้องถิ่นบริเวณจังหวัดชายแดนภาคใต้มากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ เพื่อทราบถึงปัญหาที่แท้จริงเกี่ยวกับด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากำหนดและบริหารนโยบายให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดีต่อความมั่นคงของชาติในลำดับต่อไป
  1. รัฐบาลควรพิจารณากำหนดให้ภาษามะลายูซึ่งเป็นภาษาพื้นเมืองที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความสำคัญที่สามารถเปิดสอนในสถานศึกษาต่าง ๆ ได้อย่างเสรีเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งในสังคมซึ่งส่งผลกระทบต่อความมั่นคงแห่งชาติ
  2. รัฐบาลควรส่งเสริมให้ประชาชนยอมรับความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมที่แตกต่างกันในท้องถิ่นเพื่อที่จะทำให้สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขบนพื้นฐานของการเคารพในเกียรติยศ ศักดิ์ศรี และสิทธิส่วนบุคคลของกันและกัน

 

จบการนำเสนอ