หลักสูตรการฝึกอบรมการปฏิบัติงานในสถานปฏิบัติการระดับ 3 รุ่นที่ 2  (สำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษาและบุคลากร จุฬาฯ และบุคคลทั่วไป)


         เข้าสู่การอบรมที่นี่


ประกาศ

- หลักฐานผ่านการอบรมที่ได้จากหลักสูตรอบรมนี้สามารถใช้ประกอบการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยด้านความปลอดภัยทางชีวภาพกับ IBC ประจำส่วนงานหรือ CU-IBC ได้

- ศปอส. ได้รับการรับรองเป็นหน่วยงานหรือองค์กรที่มีหลักสูตรการฝึกอบรมการปฏิบัติงานในสถานปฏิบัติการระดับ 3 จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตั้งแต่วันที่ 17 กันยายน 2563 (เลขที่ทะเบียน สธ 0621.06/4443) ฉะนั้น หลักฐานผ่านการอบรมที่ได้รับจากหลักสูตรอบรมนี้จึงสามารถใช้เป็น “หลักฐานการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity)” สำหรับการขอ/ต่ออายุใบอนุญาตเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ได้


เงื่อนไข

- ผู้ลงทะเบียนต้องผ่านการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพมาก่อน

- ขอสงวนสิทธิ์ให้ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตาม พ.ร.บ. เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558 เป็นลำดับแรก

- นิสิตบัณฑิตศึกษาและบุคลากร จุฬาฯ ที่ประสงค์เข้าอบรมต้องมีบัญชี CUNET ห้ามใช้บัญชี CUNET ของผู้อื่น หากตรวจสอบพบจะถูกตัดสิทธิ์เข้าอบรม

- ผู้ประสงค์เข้าอบรมต้องตรวจสอบรายชื่อผู้สมัคร รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรม และรายชื่อผู้ผ่านการอบรมที่หน้าเว็บไซต์ ศปอส. เมนูอบรม/สัมมนา

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมแต่ไม่สามารถเข้ารับการอบรมได้ต้องแจ้งกลับมาที่คุณวันวิสา สุดสมัย ภายในวันที่กำหนด หากไม่แจ้งจะถูกตัดสิทธิ์การเข้าอบรมหลักสูตรนี้ทั้งแบบออนไลน์และแบบปกติในครั้งถัดไป

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบบรมต้องเตรียมอุปกรณ์ที่สามารถเข้า Moodle Zoom และสามารถเปิดกล้องได้

- ผู้ผ่านการอบรมต้องเข้าอบรมตามขั้นตอนที่ผู้จัดกำหนดโดยรายละเอียดขั้นตอนก่อนอบรม ขณะอบรม และหลังอบรมดังด้านล่าง

 

ขั้นตอนก่อนการอบรม

- ลงทะเบียนวันที่ 16-31 พ.ค. 65 (ขยายเวลา) (หรือปิดรับลงทะเบียนเมื่อมีผู้ลงทะเบียนครบ 20 คน) (ไม่เสียค่าใช่จ่าย)

- กรณีนิสิตบัณฑิตศึกษาและบุคลากร จุฬาฯ การลงทะเบียนต้องใช้ Username และ Password ของบัญชี CUNET 

- ตรวจสอบรายชื่อผู้ลงทะเบียนสำเร็จที่เมนู “รายชื่อผู้สมัคร” ทันทีที่ลงทะเบียนเสร็จ และตรวจสอบรายชื่อผู้ได้รับสิทธิ์เข้าอบรมที่เมนู “รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรม” ในวันที่ 2 มิ.ย. 65 (เปลี่ยนแปลง) ตั้งแต่เวลา 13.00 น.

- ผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมแต่ไม่สามารถเข้ารับการอบรมได้ต้องแจ้งกลับมาที่คุณวันวิสา สุดสมัย ทางอีเมล Wanwisa.Su@chula.ac.th ภายในวันที่ 2 มิ.ย. 65 (เปลี่ยนแปลง) 

- เข้ากลุ่มไลน์โดยสแกน QR code ใน Moodle คลิก

- ทดลองทำแบบทดสอบใน Moodle คลิก ด้วยอุปกรณ์เครื่องเดียวกับที่จะใช้สอบก่อนและหลังการอบรม เพื่อให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ที่ใช้จะไม่มีปัญหาในวันสอบจริง

- ฟังภาคบรรยาย 1 หัวข้อผ่านวีดิทัศน์ใน Moodle คลิก และทำเครื่องหมายในช่องว่างเพื่อยืนยันการฟังบรรยายแล้ว (ในชั่วโมงบรรยายของหัวข้อนี้ผ่าน Zoom จะเป็นการถาม-ตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่ผู้เข้าอบรมฟังผ่านวีดิทัศน์ใน Moodle มาแล้ว) ภายในวันที่ 6- 14 มิ.ย. 65 (เปลี่ยนแปลง) 

- ทำแบบสำรวจเพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ COVID-19 ก่อนเข้าพื้นที่คณะแพทยศาสตร์โดยลิงก์อยู่ใน Moodle คลิก ก่อนเข้าอบรมภาคปฏิบัติภายใน 48 ชั่วโมง

 

ขั้นตอนขณะอบรม

- อบรมภาคบรรยายผ่าน Zoom โดยลิงก์ห้องอบรม Zoom อยู่ใน Moodle คลิก ในวันที่ 15 มิ.ย. 65 (ห้องอบรม Zoom เปิดตั้งแต่ 6.45 น.)

- สอบก่อนอบรมผ่าน Moodle ในวันที่ 15 มิ.ย. 65 เวลา 7.00 - 7.50 น.

- ขอให้ตั้งชื่อผู้ใช้งาน Zoom ด้วยชื่อและนามสกุลของผู้เข้าอบรมเป็นภาษาไทย

- ไม่อนุญาตให้คัดลอกและส่งต่อลิงก์ห้องอบรม Zoom ให้ผู้อื่น

- มี 1 หัวข้อ ในชั่วโมงบรรยายผ่าน Zoom จะเป็นการถาม-ตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่ผู้เข้าอบรมฟังผ่านวีดิทัศน์ใน Moodle มาแล้ว

- อบรมภาคปฏิบัติที่ห้อง 1012 ชั้น 10 อาคาร อปร. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันที่ 16-17 มิ.ย. 65 


ขั้นตอนหลังการอบรม

- ดาวน์โหลดหลักฐานผ่านการอบรมที่ Moodle (ดาวน์โหลดได้ถึงวันที่ 30 ก.ย. 65) หรือที่เว็บไซต์ ศปอส. ตรงระบบผู้ใช้งาน (ดาวน์โหลดได้ตลอดอายุการใช้งาน CUNET) หลังสอบผ่าน  (ขั้นตอน คลิก)

 

โครงการและกำหนดการ คลิก
กำหนดการภาคปฏิบัติ คลิก

***ตรวจสอบรายชื่อผู้ลงทะเบียนสำเร็จที่เมนู “รายชื่อผู้สมัคร” ทันทีที่ลงทะเบียนเสร็จ***

***โปรดอ่านประกาศและเงื่อนไข รวมทั้งขั้นตอนก่อนอบรม ขณะอบรม และหลังอบรม ที่เมนูรายละเอียด***

1. กรธรา กะหวัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
2. กรองกาญจน์ ศรีเมือง ศูนย์โรคอุบัติใหม่ด้านคลินิก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ สภากาชาดไทย
3. ไกรวิชญ์ พลพงษ์ สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
4. จิตกร ทองนันท์ บริษัท ไบโอม จำกัด
5. ญาดา อัจจิมาธร จุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
6. นางสาวณภัทร เลออนุฤต สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
7. ธนัชชา โพชสาลี สหสาขาวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
8. ธีระเดช ทวีรัตนศิลป์ -
9. เบญญาภา แก้วมาลัย สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
10. พงษ์พันธุ์ สุวรรณชาติ ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
11. พิชญานันท์ สุวรรณบูรณ์ เจ้าหน้าที่วิทยาศาสาตร์ และผู้ประกันคุณภาพงานวิจัย ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
12. ดร.ทนพ.เมธี ศรีประพันธ์ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
13. ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์ ฝ่ายวิจัย ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
14. นางสาววธู พรหมพิทยารัตน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
15. นางสาววรรณรัตน์ แซ่ชั่น คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
16. วรรทมนต์ ผอูนรัตน์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะแพทยศาสตร์
17. วัลลภ ลี่เด็น วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต จุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
18. วิชญานันท์ นาคขาว เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (สัตว์ทดลอง) ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
19. นางสาวศิโรวัลลิ์ เรือนทิพย์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
20. สุภาวดี อุ้มทอง ภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์

1. กรธรา กะหวัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
2. กรองกาญจน์ ศรีเมือง ศูนย์โรคอุบัติใหม่ด้านคลินิก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ สภากาชาดไทย
3. ไกรวิชญ์ พลพงษ์ สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
4. ญาดา อัจจิมาธร จุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
5. นางสาวณภัทร เลออนุฤต สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
6. ธนัชชา โพชสาลี สหสาขาวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
7. ธีระเดช ทวีรัตนศิลป์ -
8. เบญญาภา แก้วมาลัย สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
9. พงษ์พันธุ์ สุวรรณชาติ ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
10. พิชญานันท์ สุวรรณบูรณ์ เจ้าหน้าที่วิทยาศาสาตร์ และผู้ประกันคุณภาพงานวิจัย ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
11. ดร.ทนพ.เมธี ศรีประพันธ์ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
12. ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์ ฝ่ายวิจัย ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
13. นางสาววธู พรหมพิทยารัตน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
14. นางสาววรรณรัตน์ แซ่ชั่น คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
15. วรรทมนต์ ผอูนรัตน์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะแพทยศาสตร์
16. วัลลภ ลี่เด็น วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต จุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
17. วิชญานันท์ นาคขาว เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (สัตว์ทดลอง) ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
18. นางสาวศิโรวัลลิ์ เรือนทิพย์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
19. สุภาวดี อุ้มทอง ภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์

***ดาวน์โหลดหลักฐานผ่านการอบรมที่ Moodle (ดาวน์โหลดได้ถึงวันที่ 30 ก.ย. 65) หรือที่เว็บไซต์ ศปอส. ตรงระบบผู้ใช้งาน (ดาวน์โหลดได้ตลอดอายุการใช้งาน CUNET) หลังสอบผ่าน  (ขั้นตอน คลิก)***

1. กรธรา กะหวัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
2. กรองกาญจน์ ศรีเมือง ศูนย์โรคอุบัติใหม่ด้านคลินิก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ สภากาชาดไทย
3. ไกรวิชญ์ พลพงษ์ สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
4. ญาดา อัจจิมาธร จุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
5. นางสาวณภัทร เลออนุฤต สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
6. ธนัชชา โพชสาลี สหสาขาวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
7. ธีระเดช ทวีรัตนศิลป์ -
8. เบญญาภา แก้วมาลัย สหสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
9. พงษ์พันธุ์ สุวรรณชาติ ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
10. พิชญานันท์ สุวรรณบูรณ์ เจ้าหน้าที่วิทยาศาสาตร์ และผู้ประกันคุณภาพงานวิจัย ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
11. ดร.ทนพ.เมธี ศรีประพันธ์ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
12. ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์ ฝ่ายวิจัย ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
13. นางสาววธู พรหมพิทยารัตน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
14. นางสาววรรณรัตน์ แซ่ชั่น คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
15. วรรทมนต์ ผอูนรัตน์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะแพทยศาสตร์
16. วัลลภ ลี่เด็น วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต จุลชีววิทยาทางการแพทย์ บัณฑิตวิทยาลัย
17. วิชญานันท์ นาคขาว เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (สัตว์ทดลอง) ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ
18. นางสาวศิโรวัลลิ์ เรือนทิพย์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
19. สุภาวดี อุ้มทอง ภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์